วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552

พลังงานไฟฟ้าและการนำไฟฟ้า

พลังงานไฟฟ้า เมื่อต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ ทำให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นตามชนิดของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น เมื่อต่อหลอดไฟกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า จะได้พลังงานแสงสว่าง ถ้าต่อเตาไฟฟ้าเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า จะได้พลังงานความร้อน ถ้าต่อแหล่งกำเนิดไฟฟ้าเข้ากับเครื่องซักผ้า พัดลม และสว่านไฟฟ้า ก็จะได้พลังงานกล เป็นต้นกำลังไฟฟ้า
กำลังไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาทีหรือวัตต์ เขียนสมการได้ดังนี้ …
เมื่อ... P = กำลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูลต่อวินาทีหรือวัตต์ W = พลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูลแหล่งกำเนิดไฟฟ้า คือ แหล่งกำเนิดที่ทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของตัวนำอยู่ตลอดเวลาและทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าผ่านตัวนำอยู่ตลอดเวลา ได้แก่ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เป็นต้น
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า ที่ควรทราบมีดังนี้ เซลล์ไฟฟ้าเคมี (eletrochemical cell) เครื่องกำเนิดไฟฟ้า (generator) คู่ควบความร้อน (thermocouple) เซลล์สุริยะ (solar cell) แหล่งกำเนิดไฟฟ้าจาการนำไฟฟ้า เนื่องจากกระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้าสามารถเคลื่อนที่ได้ในตัวกลางหลายๆ ชนิด เรียกสมบัติของตัวกลางที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านได้ว่า “ตัวนำไฟฟ้า” ขณะที่มีกระแสไฟฟ้าในตัวนำ แสดงว่า “มีการนำไฟฟ้า” การนำกระแสไฟฟ้าในโลหะ โลหะทุกชนิดเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เนื่องจากมี “อิเล็กตรอนอิสระ” (Free electron) โดยอิเล็กตรอน เหล่านี้จะเคลื่อนที่โดยเสรีไม่เป็นระเบียบ ไม่มีทิศทางแน่นอน เรียก “การเคลื่อนที่แบบ Brownian” ดังนั้น ความเร็วเฉลี่ยของอิเล็กตรอนอิสระทุกตัวจึงเป็นศูนย์ แต่เมื่อทำให้ปลายทั้งสองของแท่งโลหะมีความต่างศักย์ ไฟฟ้า เช่น ต่อไว้กับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า จะทำให้เกิดสนามไฟฟ้าภายในแท่งโลหะ แรงจากสนามไฟฟ้า จะ ทำให้อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่อย่างเป็นระเบียบ โดยมีความเร็วเฉลี่ยไม่เป็นศูนย์ เรียกว่า “ความเร็วลอยเลื่อน” (drift velocity) จึงมีกระแสไฟฟ้าในแท่งโลหะ ดังนั้น กระแสไฟฟ้าในโลหะจึงเกิดจากการเคลื่อนที่ของ อิเล็กตรอนอิสระกสิ่งมีชีวิต t = เวลา มีหน่วยเป็นวินาที

วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552

มอเตอร์

มอเตอร์ เป็นเครื่องกลเพื่อเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยส่วนหมุนได้ที่พันด้วยขดลวด
เป็นกระบวนการย้อนกลับของ ไดนาโม หรือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
มักเป็นส่วนประกอบสำคัญใน เครื่องกล เครื่องจักรกลอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน เช่น เครื่องสูบน้ำ เครื่องอัดลม พัดลม เครื่องลำเลียง เครื่องเล่นแผ่นดิสก์ ฯลฯ
มอเตอร์ลากจูง (Traction motor) ซึ่งใช้ในยานยนต์และรถไฟ สามารถหมุนได้ทั้งสองทิศทาง
มอเตอร์ ต้องต่อวงจรไฟฟ้าเข้ากับ แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่ (สำหรับ มอเตอร์กระแสตรง ในเครื่องกลหรือยานยนต์) หรือการจ่ายกระแสไฟฟ้าจาก โรงงานไฟฟ้า (สำหรับ มอเตอร์กระแสสลับ ในเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน)
มอเตอร์ขนาดเล็กที่สุด ที่ใช้งานได้จริงในปัจจุบัน ได้แก่ มอเตอร์ใน นาฬิกาข้อมือไฟฟ้า มอเตอร์ขนาดเล็กที่สุด ที่อยู่ระหว่างพัฒนา ได้แก่ มอเตอร์นาโน (เล็กกว่าเส้นผม 300 เท่า) มอเตอร์ขนาดกลางมาตรฐานสูง มักเป็นส่วนประกอบในเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม มอเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด ได้แก่ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ในท่อขับระวางของเรือเดินสมุทร (ใช้กำลังไฟนับพัน กิโลวัตต์)
หลักการทางฟิสิกส์ ในการผลิตพลังงานกลด้วยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นที่รู้จักกันเมื่อตอนต้น ค.ศ. 1821
มอเตอร์ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของมนุษย์มาตลอด คริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่เมื่อเครื่องกลใช้มอเตอร์มากขึ้น ปริมาณความต้องการพลังงานไฟฟ้าก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน

อุปกรณ์โฟโต้

1. โฟโต้ไดโอด(Photo Diode)
โฟโต้ไดโอด (Photo Diode) เป็นอุปกรณ์เชิงแสงชนิดหนึ่ง ที่ประกอบด้วยสารกึ่งตัวนำชนิด P และสารกึ่งตัวนำชนิด N รอยต่อจะถูกห่อหุ้มด้วยวัสดุที่แสงผ่านได้ เช่น กระจกใส โฟโต้ไดโอดจะมีอยู่ 2 แบบ คือแบบที่ตอบสนองต่อแสงที่เรามองเห็น และแบบที่ตอบสนองต่อแสงในย่านอินฟาเรด ในการรับใช้งานจะต้องต่อโฟโต้ไดโอดในลักษณะไบอัสกลับ
โฟโต้ไดโอด (Photo Diode) จะยอมให้กระแสไหลผ่านได้มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับปริมาณความเข้มของแสง เมื่อโฟโต้ไดโอดได้รับไบอัสกลับ (Reverse Bias) ด้วยแรงดันค่าหนึ่งและมีแสงมาตกกระทบที่บริเวณรอยต่อ ถ้าแสงที่มาตกกระทบมีความยาวคลื่นหรือแลมด้าที่เหมาะสมจะมีกระแสไหลในวงจร โดยกระแสที่ไหลในวงจร จะแปรผกผันกับความเข้มของแสงที่มาตกกระทบ ลักษณะทั่วไปขณะไบอัสตรง (Forward Bias ) จะยังคงเหมือนกับไดโอดธรรมดาคือยอมให้กระแสไหลผ่านได้

โฟโต้ไดโอดเมื่อเทียบกับ LDR (ตัวต้านทานที่แปรค่าตามแสง) แล้วโฟโต้ไดโอดมีการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานเร็วกว่า LDR มาก จึงนิยมนำไปประยุกต์งานในวงจรที่ต้องการความเร็วสูง เช่น เครื่องนับสิ่งของ, ตัวรับรีโมทคอนโทรล, วงจรกันขโมยอินฟาเรดเป็นต้น
เนื่องจากโฟโต้ไดโอดให้ค่าการเปลี่ยนแปลงของกระแสต่อแสงต่ำ คืออยู่ในช่วง 1-10 ตA เท่านั้น ดังนั้นการใช้งานโฟโต้ไดโอดจึงต้องมีตัวขยายกระแสเพิ่มเติม ผู้ผลิตจึงหันมาใช้ทรานซิสเตอร์เป็นตัวขยายกระแสเพิ่มเติมอยู่ในตัวถังเดียวกัน ซึ่งเรียก ว่าโฟโต้ทรานซิสเตอร์(Photo Transistor)

2. โฟโต้ทรานซิสเตอร์ (Photo Transistor)
โฟโต้ทรานซิสเตอร์ (Photo Transistor) จะประกอบด้วยโฟโต้ไดโอดซึ่งจะต่ออยู่ระหว่างขาเบสกับคอลเลคเตอร์ ของทรานซิสเตอร์ ดังรูป 2 กระแสที่เกิดขึ้นจากาการเปลี่ยนแปลงของแสงจะถูกขยายด้วยทรานซิสเตอร์ (Transistor) ในการใช้งานโฟโต้ทรานซิสเตอร์ รอยต่อระหว่างเบส-อิมิตเตอร์ (Base-Emitter) จะต่อไบอัสกลับ (Reverse Bias) ที่รอยต่อนี้เองเป็นส่วนที่ทำให้เกิดการแปลงค่ากระแสที่ขึ้นอยู่กับความเข้มแสง เมื่อไบอัสกลับ (Reverse Bias) ที่รอยต่อระหว่างเบสกับคอลเลคเตอร์ (Base-Collecter) และมีแสงตกกระทบที่บริเวณรอยต่อ กระแสอันเนื่องจากแสง (IP) จะถูกขยายด้วยอัตราขยายของทรานซิสเตอร์เป็นกระแสอิมิตเตอร์ (IE) และถ้าไบอัสตรงที่ขาเบสด้วยกระแสเบส (IB) จากภายนอกก็จะถูกขยายรวมกับกระแสเนื่องจากแสง (IP) ด้วย

ถ้าให้ IP = กระแสที่เกิดขึ้นเนื่องจากแสง
IB = กระแสเบสที่มาจากภายนอก
IE = กระแสอิมิตเตอร์
hfe = อัตราขยายของทรานซิสเตอร์

จากสมการของทรานซิสเตอร์คือ

IC = hfeIB

และ
IE = IC + ( IB IP )

จะได้
IE = IC + ( IB IP ) hfe + I

จะเห็นได้ว่ากระแส IE เปลี่ยนแปลงตามกระแส IP ด้วยอัตราขยายถึง hfe+1 เท่าซึ่งถ้า IP มีค่าเปลี่ยนแปลงจาก 1-10ตA และทำให้ hfe มีค่าประมาณ 100 จะได้ค่า IE เปลี่ยนแปลงจาก 100ตA ถึง 1mA
อัตราขยายกระแสยิ่งสูงจะทำให้ผลตอบสนองต่อแสงจะไวขึ้น ค่า hfe สูงๆ จะต้องทำให้รอยต่อระหว่างเบสกับคอลเล็กเตอร์มีพื้นที่มาก แต่ก็ทำให้กระแสรั่วไหลสูงขึ้นด้วย เพราะรอยต่อจะถูกไบอัสกลับ (Revese Bias)

3. โฟโต้ดาร์ลิงตันทรานซิสเตอร์ (Photo DaringtonTransistor)
โฟโต้ดาร์ลิงตันทรานซิสเตอร์ (Photo DaringtonTransistor) คือโฟโต้ทรานซิสเตอร์ 2 ตัวต่อร่วมกันในลักษณะวงจรดาร์ลิงตัน คือต่อในลักษณะขาอิมิตเตอร์(Emitter) ของตัวหนึ่งจะต่อเข้ากับเบส (Base) ของตัวถัดไป ลักษณะการต่อเช่นนี้จะทำให้ทรานซิสเตอร์มีอัตราการขยายสูงขึ้นอีกมาก

เทคนิคการซ่อมโทรทัศน์

ก่อนอื่นต้องเช็คที่ภาคจ่ายไฟ(วงจรเรียงกระแส)ว่าทำงานหรือไม่โดยใช้มัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดดีซี 250 โวลต์ วัดแรงดันที่ตัวเก็บประจุค่า3300ไมโครฟารัด400โวลต์จะต้องมีแรงดันประมาณ 300 โวลต์ถ้าไม่มีให้ย้อนกลับเช็ควงจรเรียงกระแส ถ้ามีให้เช็คแรงดันไฟตรงที่ตัวเก็บประจุ 2200ไมโคฟารัด160โวลว่ามีแรงดันประมาณ115โวลต์ ไม่มีให้ย้อนกลับไปเช็คภาคสวิตชิ่งค์ ถ้ามีแสดงว่าภาคจ่ายไฟทำงานแล้ว ให้ทำการเช็คที่ภาคอื่นต่อไป ให้เช็คแรงดันไตรงที่ตัวเก็บประจุ 2200ไมโคฟารัด160โวลว่ามีแรงดันประมาณ115โวล

การล้างแอร์

วิธีการปฏิบัติงาน
6.1 การล้างย่อย (การล้าง Air Filter และเป่าฝุ่นชุด Condensing Unit)
6.1.1 ทำการขออนุญาตล้างกรองอากาศ กับเจ้าของพื้นที่
6.1.2 เปิดเครื่องปรับอากาศเพื่อตรวจสอบสภาพการใช้งาน
6.1.3 ปิดเครื่องปรับอากาศ Lock out, Tag out
6.1.4 ถอดกรองอากาศล้างด้วยน้ำและเป่าด้วย Blower ให้แห้ง
6.1.5 ตรวจสอบความตันของกรองเพื่อปรับความถี่ในการล้างให้เหมาะสม
6.1.6 ติดตั้งกรองอากาศเข้าที่เดิม ตรวจสอบความสะอาดเรียบร้อยรอบบริเวณที่ทำงาน
6.1.7 เป่าฝุ่นชุด Condensing ด้วย Blower และแปรงปัด
6.1.8 ปลด Lock out, Tag out
6.1.9 เปิดเครื่องปรับอากาศทดสอบการทำงาน
•6.2 การล้างใหญ่ (การล้าง Air Filter ,ชุด Fan coil Unit ,ใบพัดมอเตอร์ชุด Fan coil Unit ชุด Condensing Unit , ตรวจสอบปริมาณสารทำความเย็น , เช็คกระแสไฟฟ้าและระดับแรงดันไฟฟ้า)
6.2.1 ทำการขออนุญาตล้างกรองอากาศ กับเจ้าของพื้นที่
6.2.2 เปิดเครื่องปรับอากาศเพื่อตรวจสอบสภาพการใช้งาน
6.2.3 ปิดเครื่องปรับอากาศ Lock out, Tag out
6.2.4 ถอดฝาครอบชุด Fan coil unit
6.2.5 ถอดชุด Motor Fan coil unit
6.2.6 ถอดถาดน้ำทิ้ง
6.2.7 ใช้ผ้ายางหรือพลาสติก ปิดคลุมอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ให้ถูกน้ำ
6.2.8 ใช้ผ้าใบรองล้าง สวมรองชุด Fan coil unit โดยต่อท่อน้ำทิ้งลงถังพลาสติก
6.2.9 ฉีดล้างแผงคอยล์เย็นด้วยปั๊มน้ำแรงดันสูง
6.2.10 ทำความสะอาดใบพัดมอเตอร์ Fan coil unit
6.2.11 ทำความสะอาดท่อน้ำและถาดน้ำทิ้ง
6.2.12 ทำความสะอาดแผงกรองอากาศ (Air Filter)
6.2.13 ใช้เครื่องเป่าลมเป่าอุปกรณ์ที่ล้างให้แห้ง ก่อนประกอบชุด Fan coil unit
6.2.14 ถอดฝาครอบชุด Condensing unit
6.2.15 ใช้ผ้ายาง หรือ พลาสติก ปิดคลุมอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ให้ถูกน้ำ
6.2.16 ใช้ปั๊มน้ำแรงสูงฉีดล้าง Condensing unit
6.2.17 ทำความสะอาดใบพัดมอเตอร์ Condensing unit
6.2.18 ใช้เครื่องเป่าลมเป่าแผงคอนเดนเซอร์ให้แห้งก่อนประกอบชุด Condensing unit
6.2.19 ตรวจสอบอุปกรณ์ตั้งเวลา (Timer) และอุปกรณ์ช่วยสตาร์ทคอมเพรสเซอร์(ถ้ามี)
6.2.20 ปลด Lock out, Tag out
6.2.21 เปิดเครื่องปรับอากาศทดสอบการทำงาน
6.2.22 ตรวจสอบความสั่นสะเทือน
6.2.23 ตรวจวัดระบบไฟฟ้า (กระแสและแรงดันไฟฟ้า)
6.2.24 ตรวจวัดแรงดันน้ำยา

การล้างแอร์

วิธีการปฏิบัติงาน
6.1 การล้างย่อย (การล้าง Air Filter และเป่าฝุ่นชุด Condensing Unit)
6.1.1 ทำการขออนุญาตล้างกรองอากาศ กับเจ้าของพื้นที่
6.1.2 เปิดเครื่องปรับอากาศเพื่อตรวจสอบสภาพการใช้งาน
6.1.3 ปิดเครื่องปรับอากาศ Lock out, Tag out
6.1.4 ถอดกรองอากาศล้างด้วยน้ำและเป่าด้วย Blower ให้แห้ง
6.1.5 ตรวจสอบความตันของกรองเพื่อปรับความถี่ในการล้างให้เหมาะสม
6.1.6 ติดตั้งกรองอากาศเข้าที่เดิม ตรวจสอบความสะอาดเรียบร้อยรอบบริเวณที่ทำงาน
6.1.7 เป่าฝุ่นชุด Condensing ด้วย Blower และแปรงปัด
6.1.8 ปลด Lock out, Tag out
6.1.9 เปิดเครื่องปรับอากาศทดสอบการทำงาน
•6.2 การล้างใหญ่ (การล้าง Air Filter ,ชุด Fan coil Unit ,ใบพัดมอเตอร์ชุด Fan coil Unit ชุด Condensing Unit , ตรวจสอบปริมาณสารทำความเย็น , เช็คกระแสไฟฟ้าและระดับแรงดันไฟฟ้า)
6.2.1 ทำการขออนุญาตล้างกรองอากาศ กับเจ้าของพื้นที่
6.2.2 เปิดเครื่องปรับอากาศเพื่อตรวจสอบสภาพการใช้งาน
6.2.3 ปิดเครื่องปรับอากาศ Lock out, Tag out
6.2.4 ถอดฝาครอบชุด Fan coil unit
6.2.5 ถอดชุด Motor Fan coil unit
6.2.6 ถอดถาดน้ำทิ้ง
6.2.7 ใช้ผ้ายางหรือพลาสติก ปิดคลุมอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ให้ถูกน้ำ
6.2.8 ใช้ผ้าใบรองล้าง สวมรองชุด Fan coil unit โดยต่อท่อน้ำทิ้งลงถังพลาสติก
6.2.9 ฉีดล้างแผงคอยล์เย็นด้วยปั๊มน้ำแรงดันสูง
6.2.10 ทำความสะอาดใบพัดมอเตอร์ Fan coil unit
6.2.11 ทำความสะอาดท่อน้ำและถาดน้ำทิ้ง
6.2.12 ทำความสะอาดแผงกรองอากาศ (Air Filter)
6.2.13 ใช้เครื่องเป่าลมเป่าอุปกรณ์ที่ล้างให้แห้ง ก่อนประกอบชุด Fan coil unit
6.2.14 ถอดฝาครอบชุด Condensing unit
6.2.15 ใช้ผ้ายาง หรือ พลาสติก ปิดคลุมอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ให้ถูกน้ำ
6.2.16 ใช้ปั๊มน้ำแรงสูงฉีดล้าง Condensing unit
6.2.17 ทำความสะอาดใบพัดมอเตอร์ Condensing unit
6.2.18 ใช้เครื่องเป่าลมเป่าแผงคอนเดนเซอร์ให้แห้งก่อนประกอบชุด Condensing unit
6.2.19 ตรวจสอบอุปกรณ์ตั้งเวลา (Timer) และอุปกรณ์ช่วยสตาร์ทคอมเพรสเซอร์(ถ้ามี)
6.2.20 ปลด Lock out, Tag out
6.2.21 เปิดเครื่องปรับอากาศทดสอบการทำงาน
6.2.22 ตรวจสอบความสั่นสะเทือน
6.2.23 ตรวจวัดระบบไฟฟ้า (กระแสและแรงดันไฟฟ้า)
6.2.24 ตรวจวัดแรงดันน้ำยา

การล้างแอร์

วิธีการปฏิบัติงาน
6.1 การล้างย่อย (การล้าง Air Filter และเป่าฝุ่นชุด Condensing Unit)
6.1.1 ทำการขออนุญาตล้างกรองอากาศ กับเจ้าของพื้นที่
6.1.2 เปิดเครื่องปรับอากาศเพื่อตรวจสอบสภาพการใช้งาน
6.1.3 ปิดเครื่องปรับอากาศ Lock out, Tag out
6.1.4 ถอดกรองอากาศล้างด้วยน้ำและเป่าด้วย Blower ให้แห้ง
6.1.5 ตรวจสอบความตันของกรองเพื่อปรับความถี่ในการล้างให้เหมาะสม
6.1.6 ติดตั้งกรองอากาศเข้าที่เดิม ตรวจสอบความสะอาดเรียบร้อยรอบบริเวณที่ทำงาน
6.1.7 เป่าฝุ่นชุด Condensing ด้วย Blower และแปรงปัด
6.1.8 ปลด Lock out, Tag out
6.1.9 เปิดเครื่องปรับอากาศทดสอบการทำงาน
•6.2 การล้างใหญ่ (การล้าง Air Filter ,ชุด Fan coil Unit ,ใบพัดมอเตอร์ชุด Fan coil Unit ชุด Condensing Unit , ตรวจสอบปริมาณสารทำความเย็น , เช็คกระแสไฟฟ้าและระดับแรงดันไฟฟ้า)
6.2.1 ทำการขออนุญาตล้างกรองอากาศ กับเจ้าของพื้นที่
6.2.2 เปิดเครื่องปรับอากาศเพื่อตรวจสอบสภาพการใช้งาน
6.2.3 ปิดเครื่องปรับอากาศ Lock out, Tag out
6.2.4 ถอดฝาครอบชุด Fan coil unit
6.2.5 ถอดชุด Motor Fan coil unit
6.2.6 ถอดถาดน้ำทิ้ง
6.2.7 ใช้ผ้ายางหรือพลาสติก ปิดคลุมอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ให้ถูกน้ำ
6.2.8 ใช้ผ้าใบรองล้าง สวมรองชุด Fan coil unit โดยต่อท่อน้ำทิ้งลงถังพลาสติก
6.2.9 ฉีดล้างแผงคอยล์เย็นด้วยปั๊มน้ำแรงดันสูง
6.2.10 ทำความสะอาดใบพัดมอเตอร์ Fan coil unit
6.2.11 ทำความสะอาดท่อน้ำและถาดน้ำทิ้ง
6.2.12 ทำความสะอาดแผงกรองอากาศ (Air Filter)
6.2.13 ใช้เครื่องเป่าลมเป่าอุปกรณ์ที่ล้างให้แห้ง ก่อนประกอบชุด Fan coil unit
6.2.14 ถอดฝาครอบชุด Condensing unit
6.2.15 ใช้ผ้ายาง หรือ พลาสติก ปิดคลุมอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ให้ถูกน้ำ
6.2.16 ใช้ปั๊มน้ำแรงสูงฉีดล้าง Condensing unit
6.2.17 ทำความสะอาดใบพัดมอเตอร์ Condensing unit
6.2.18 ใช้เครื่องเป่าลมเป่าแผงคอนเดนเซอร์ให้แห้งก่อนประกอบชุด Condensing unit
6.2.19 ตรวจสอบอุปกรณ์ตั้งเวลา (Timer) และอุปกรณ์ช่วยสตาร์ทคอมเพรสเซอร์(ถ้ามี)
6.2.20 ปลด Lock out, Tag out
6.2.21 เปิดเครื่องปรับอากาศทดสอบการทำงาน
6.2.22 ตรวจสอบความสั่นสะเทือน
6.2.23 ตรวจวัดระบบไฟฟ้า (กระแสและแรงดันไฟฟ้า)
6.2.24 ตรวจวัดแรงดันน้ำยา